Skip to content

ความเปลี่ยนแปลง

View changes from to


On 25 มีนาคม ค.ศ. 2024 17 นาฬิกา 51 นาที 05 วินาที +0700, Gravatar hrdi-admin:
  • Updated description of ชุดข้อมูลแบบบูรณาการเพื่อแก้ไขปัญหาวิกฤตฝุ่นขนาดเล็ก PM 2.5 อย่างมีส่วนร่วม from

    โครงการจัดทำฐานข้อมูลแบบบูรณาการเพื่อแก้ไข ปัญหาวิกฤตฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM 2.5 อย่างมีส่วนร่วมในพื้นที่อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ (The project of integrated database management system to solve the problem of PM 2.5 crisis in the Mae Chaem District, Chiang Mai) ด้วยปัจจัยที่มีผลต่อการเผาในพื้นที่เกษตร ปัญหาวิกฤตฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM 2.5 ในระดับอำเภอ ตำบล ชุมชน มีความหลากหลายและซับซ้อน ดังนั้น เพื่อแก้ไขปัญหาฝุ่น PM 2.5 ให้ตรงจุด โดยการวิเคราะห์ข้อมูลหาความสัมพันธ์ระหว่างจุดความร้อน พื้นที่เผาไหม้ คาดการณ์พื้นที่เสี่ยงต่อการเผาและพื้นที่เฝ้าระวัง เหล่านี้จำเป็นต้องใช้ข้อมูลร่วมกันจำนวนมากจากหลากหลายแหล่ง หลากหลายรูปแบบ หลากหลายข้อมูลภูมิศาสตร์ หรือ ข้อมูลเชิงพื้นที่และเวลา (spatial-temporal data)จึงจำเป็นต้องรวบรวมข้อมูลและการเชื่อมโยงข้อมูลต่างๆ จาก ภาครัฐ และภาคเอกชนจากภายนอก องค์กรหรือหน่วยงานต่าง ๆ รวมไปถึงภาคประชาชน ในรูปแบบของ One-Stop Information Hub ระยะที่ผ่านมา การแก้ไขปัญหาในพื้นที่อำเภอแม่แจ่ม มีการทำงานแบบแยกตามภารกิจ (Silo Way of Working)ทำให้เกิดปัญหาด้านการบริหารจัดการข้อมูลเพื่อใช้ในการตัดสินใจในการแก้ไขปัญหา • ขาดการบูรณาการ เชื่อมโยงข้อมูลและใช้ประโยชน์ข้อมูลร่วมกัน และหน่วยงานกลางในการรวบรวมข้อมูล • ข้อมูลกระจัดกระจาย รูปแบบการจัดเก็บข้อมูลที่หลากหลาย ตามภารกิจของแต่ละหน่วยงาน ทำให้เกิดความซ้ำซ้อนในการจัดเก็บข้อมูล • ข้อมูลไม่พร้อมต่อการใช้ประโยขน์ ไม่เพียงพอต่อการนำไปใช้วางแผน ตัดสินใจในการแก้ไขปัญหาสำคัญของพื้นที่ ดังนั้น เพื่อให้มีฐานข้อมูลชุดเดียวกัน นำไปสู่กระบวนการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ถึงสาเหตุที่แท้จริงในการเกิดการเผาและไฟป่า และแนวทางในการแก้ไขปัญหาในพื้นที่ได้อย่างถูกต้อง แม่นยํา เหมาะสมและรวดเร็วให้เกิดการแก้ไขปัญหาอย่างยั่งยืน การจัดทำฐานข้อมูลกลางและเชื่อมโยงข้อมูลผ่านระบบสารสนเทศในระดับอำเภอแม่แจ่ม โดยการบูรณาการแบบองค์รวม ภายใต้กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ชุมชนเป็นจุดศูนย์กลางของข้อมูลและการขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่
    to
    โครงการจัดทำฐานข้อมูลแบบบูรณาการเพื่อแก้ไข ปัญหาวิกฤตฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM 2.5 อย่างมีส่วนร่วมในพื้นที่อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ (The project of integrated database management system to solve the problem of PM 2.5 crisis in the Mae Chaem District, Chiang Mai) ด้วยปัจจัยที่มีผลต่อการเผาในพื้นที่เกษตร ปัญหาวิกฤตฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM 2.5 ในระดับอำเภอ ตำบล ชุมชน มีความหลากหลายและซับซ้อน ดังนั้น เพื่อแก้ไขปัญหาฝุ่น PM 2.5 ให้ตรงจุด โดยการวิเคราะห์ข้อมูลหาความสัมพันธ์ระหว่างจุดความร้อน พื้นที่เผาไหม้ คาดการณ์พื้นที่เสี่ยงต่อการเผาและพื้นที่เฝ้าระวัง เหล่านี้จำเป็นต้องใช้ข้อมูลร่วมกันจำนวนมากจากหลากหลายแหล่ง หลากหลายรูปแบบ หลากหลายข้อมูลภูมิศาสตร์ หรือ ข้อมูลเชิงพื้นที่และเวลา (spatial-temporal data)จึงจำเป็นต้องรวบรวมข้อมูลและการเชื่อมโยงข้อมูลต่างๆ จาก ภาครัฐ และภาคเอกชนจากภายนอก องค์กรหรือหน่วยงานต่าง ๆ รวมไปถึงภาคประชาชน ในรูปแบบของ One-Stop Information Hub ระยะที่ผ่านมา การแก้ไขปัญหาในพื้นที่อำเภอแม่แจ่ม มีการทำงานแบบแยกตามภารกิจ (Silo Way of Working)ทำให้เกิดปัญหาด้านการบริหารจัดการข้อมูลเพื่อใช้ในการตัดสินใจในการแก้ไขปัญหา • ขาดการบูรณาการ เชื่อมโยงข้อมูลและใช้ประโยชน์ข้อมูลร่วมกัน และหน่วยงานกลางในการรวบรวมข้อมูล • ข้อมูลกระจัดกระจาย รูปแบบการจัดเก็บข้อมูลที่หลากหลาย ตามภารกิจของแต่ละหน่วยงาน ทำให้เกิดความซ้ำซ้อนในการจัดเก็บข้อมูล • ข้อมูลไม่พร้อมต่อการใช้ประโยขน์ ไม่เพียงพอต่อการนำไปใช้วางแผน ตัดสินใจในการแก้ไขปัญหาสำคัญของพื้นที่ ดังนั้น เพื่อให้มีฐานข้อมูลชุดเดียวกัน นำไปสู่กระบวนการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ถึงสาเหตุที่แท้จริงในการเกิดการเผาและไฟป่า และแนวทางในการแก้ไขปัญหาในพื้นที่ได้อย่างถูกต้อง แม่นยํา เหมาะสมและรวดเร็วให้เกิดการแก้ไขปัญหาอย่างยั่งยืน การจัดทำฐานข้อมูลกลางและเชื่อมโยงข้อมูลผ่านระบบสารสนเทศในระดับอำเภอแม่แจ่ม โดยการบูรณาการแบบองค์รวม ภายใต้กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ชุมชนเป็นจุดศูนย์กลางของข้อมูลและการขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ โดยวัตถุประสงค์ 1. เพื่อจัดทำฐานข้อมูลกลางและเชื่อมโยงข้อมูลผ่านระบบสารสนเทศในระดับอำเภอแม่แจ่ม โดยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานทุกภาคส่วน 2. เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลหาความสัมพันธ์ระหว่างจุดความร้อน พื้นที่เผาไหม้ และข้อมูลเชิงพื้นที่ของชุมชน คาดการณ์พื้นที่เสี่ยงต่อการเผาและพื้นที่เฝ้าระวัง 3. เพื่อพัฒนา platform ฐานข้อมูลที่จำเป็นต่อการวิเคราะห์ปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM 2.5 สู่การกำหนดมาตรการป้องกัน และจัดการที่เหมาะสมในแต่ละบริบทพื้นที่ และมีกระบวนการติดตามทวนสอบการเผาในพื้นที่ โดยชุมชนสามารถเข้าถึงข้อมูลและนำไปใช้ประโยชน์ได้ต่อเนื่อง